ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่055
Sort Order0
คำนิยาม

สถานการณ์ปัญหาด้านกำลังคน

  ปัญหาการขาดแคลนกำลังคนด้านสุขภาพ ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับภูมิภาคของประเทศ ส่งผลต่อการบริการประชาชนที่ไม่ครอบคลุม ในขณะที่ประเทศกำลังปฏิรูประบบบริการสุขภาพ มีการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปีข้างหน้า มุ่งเน้นให้ประชาชนไทยมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน  ดังนั้นการพัฒนาบุคลากรจึงมีความสำคัญและจำเป็น

  ตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้กำหนดให้ ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย

  1. จัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ให้สอดคล้องกับเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ขององค์กร โดยวางแผนบริหารอัตรากำลังให้ครอบคลุมกิจกรรมดังนี้
    1. การวางแผนอัตรากำลัง
    2. พัฒนาและเพิ่มขีดสมรรถนะบุคลากร
    3. บริหารบุคลากรที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูงในสายงานหลัก
    4. การสร้าง/พัฒนาข้าราชการเพื่อสืบทอดตำแหน่งผู้บริหาร
    5. การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงานให้แก่บุคลากร
    6. การจัดระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  2. การพัฒนาบุคลากร ซึ่งเป็นกระบวนการบริหารงานบุคคลที่ต้องปฏิบัติอยู่ตลอดเวลาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับบุคลากร ตลอดจนทำให้บุคลากรมีความเติบโตก้าวหน้าและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ซึ่งการพัฒนาบุคลากรสามารถดำเนินการได้ 2 รูปแบบ คือ แบบที่เป็นทางการ เช่นการบรรยาย การฝึกอบรมเป็นต้น และแบบที่ไม่เป็นทางการ เช่น การสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง การสอนแนะ(Coaching) และการสอนงานอย่างใกล้ชิด

บุคลากร  หมายถึงบุคลากร 5 กลุ่ม ดังนี้

1.บุคลากรวิชาชีพ  (Health professionals) มี 7 สายงาน   ได้แก่  แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ นักกายภาพบำบัด และ นักวิชาการสาธารณสุข

2.บุคลากรสหวิชาชีพ (Allied  Health professionals)ได้แก่

  2.1  บุคลากรซึ่งเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ 7 สายงาน  ได้แก่ นักรังสีการแพทย์

นักกิจกรรมบำบัด  นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา  นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย 

นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก นักฟิสิกส์รังสี และแพทย์แผนไทย

  2.2  บุคลากรอื่น มี 7 สายงาน ได้แก่ นักวิชาการทันตสาธารณสุข  นักโภชนาการ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการศึกษาพิเศษ นักกายอุปกรณ์ นักวิชาการอาหารและยา

3. บุคลากรสนับสนุน  (Associates Health personal) ประกอบด้วย เจ้าพนักงาน
ทันตสาธารณสุข  เจ้าพนักงานเภสัชกรรม เจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าพนักงานเวชสถิติ   เจ้าพนักงานเวชกิจฉุกเฉิน เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ และเจ้าพนักงานรังสีการแพทย์

4.บุคลากรสายสนับสนุน (Back office) ประกอบด้วย นักวิชาการ/เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี  นักทรัพยากรบุคคล นักจัดการงานทั่วไป นักวิชาการ/เจ้าพนักงานพัสดุ นิติกร นักสถิติ  นักวิชาการ/เจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์  นักวิชาการ/เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เจ้าพนักงานธุรการ 

5.บุคลากรผู้ทำหน้าที่บริหารงาน ประกอบด้วย ระดับสูง ระดับกลาง ระดับต้น

ร้อยละบุคลากรได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด  หมายถึง จำนวนบุคลากรทั้ง 5 กลุ่มที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ 2546 มาตรา 47  เทียบกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนบริหารอัตรากำลังของเขตสุขภาพ

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาในปีที่วัดผล
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนบุคลากรเป้าหมายที่กำหนด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 85
ประชากรกลุ่มเป้าหมายบุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ/เขตบริการสุขภาพ
ค่าเป้าหมาย85.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ระบบรายงาน

แหล่งข้อมูล

จังหวัด/เขตบริการสุขภาพ/สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์/กลุ่มบริหารงานบุคคล/สถาบันพระบรมราชชนก

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 และ 3
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

77

ร้อยละ

50

50

60

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

มีผลการพัฒนาบุคลากรร้อยละ 60 ของเป้าหมาย

มีผลการพัฒนาบุคลากรร้อยละ 85ของเป้าหมาย

 

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

มีผลการพัฒนาบุคลากรร้อยละ 80 ของเป้าหมาย

มีผลการพัฒนาบุคลากรร้อยละ 100ของเป้าหมาย

 

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

มีผลการพัฒนาบุคลากรร้อยละ 80 ของเป้าหมาย

มีผลการพัฒนาบุคลากรร้อยละ 100ของเป้าหมาย

 

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

มีผลการพัฒนาบุคลากรร้อยละ 80 ของเป้าหมาย

มีผลการพัฒนาบุคลากรร้อยละ 100ของเป้าหมาย

 

 
วิธีการประเมินผล

รวบรวมข้อมูล นำมาวิเคราะห์ผลเปรียบเทียบเกณฑ์ และคำนวนตามสูตรที่กำหนด

เอกสารสนับสนุน

1.แผนผลิตและพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ

2.รายงานผลการจัดสรร/พัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางกัลยา เนติประวัติ                     นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901818       โทรศัพท์มือถือ : 081-6499395

    โทรสาร :                                  E-mail : Catypakdee@gmail.com

2. นางศรีนวล  ศิริคะรินทร์                  นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901809       โทรศัพท์มือถือ : 089-7830535

    โทรสาร : 02-5901830                 E-mail : srinuans711@gmaill.com

สถาบันพระบรมราชชนก

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สถาบันพระบรมราชชนก

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1.นางกัลยา เนติประวัติ                       นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901818        โทรศัพท์มือถือ : 081-6499395

   โทรสาร :                                   E-mail : Catypakdee@gmail.com

2. นางศรีนวล  ศิริคะรินทร์                  นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901809       โทรศัพท์มือถือ : 089-7830535

    โทรสาร : 02-5901830                 E-mail : srinuans711@gmaill.com

สถาบันพระบรมราชชนก

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>