ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย
Child KPI020.2 ร้อยละของผักและผลไม้สดมีความปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
020.2 ร้อยละของผักและผลไม้สดมีความปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
020.3 ร้อยละของผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
020.3 ร้อยละของผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
สร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่020
Sort Order0
คำนิยาม

1. อาหารสด หมายถึง อาหารที่ยังไม่ผ่านการแปรรูป ที่นำมาเป็นวัตถุดิบในการปรุงประกอบอาหาร ได้แก่ ผัก ผลไม้

2. อาหารสดมีความปลอดภัย หมายถึง ผักและผลไม้สดต้องพบการตกค้างของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในปริมาณไม่เกินกว่าเกณฑ์กำหนด

3. อาหารแปรรูป หมายถึง อาหารที่ผ่านกระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของอาหารไปแล้ว ได้แก่ นมโรงเรียน

4. อาหารแปรรูปมีความปลอดภัย หมายถึง นมโรงเรียนต้องมีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Aจำนวนอาหารสดและอาหารแปรรูปผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
หน่วยของค่า Bผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Bจำนวนอาหารสดและอาหารแปรรูปที่เก็บตัวอย่างและได้รับรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 75
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปที่มีการจำหน่ายในประเทศ
ค่าเป้าหมาย75.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ดำเนินการตามรายละเอียดเอกสาร KPI template ประเด็นย่อยที่ 1-2 โดยรายงานผลการดำเนินงานจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาตามช่องทางที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด

แหล่งข้อมูล

ส่วนกลาง : สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ส่วนภูมิภาค :  เขตบริการสุขภาพ โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4 (โดยติดตามผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1, 2, 3 และ 4)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยนับ

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560*

1. อาหารสด

 

-

-

-

       1.1 ผักผลไม้สด

ร้อยละ

 

 

 

2. อาหารแปรรูป

 

 

 

 

       2.4 นมโรงเรียน

ร้อยละ

92.26

91.11

92.64

 

หมายเหตุ: * ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2560

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561

หน่วยงาน

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

อย.

 

 

  • มีการแต่งตั้งคณะทำงาน CIPO Food Safety
  • มีแผนการดำเนินการในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • วางแผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ประสานและจัดส่งข้อมูลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • แผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

สสจ.

  • มีแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานมายังสำนักงานคณะ กรรมการอาหารและยาตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานมายังสำนักงานคณะ กรรมการอาหารและยาตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานร้อยละ 100 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานมายังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • วางแผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยระดับจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพผ่านกลไกคณะ อนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ประสานและส่งต่อข้อมูลผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด
 

ปี 2562

หน่วยงาน

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

อย.

 

 

  • มีการแต่งตั้งคณะทำงาน CIPO Food Safety
  • มีแผนการดำเนินการในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน

 

  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • วางแผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ประสานและจัดส่งข้อมูลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • แผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

 

สสจ.

  • มีแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานร้อยละ 100 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • วางแผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยระดับจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพผ่านกลไกคณะ อนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ประสานและส่งต่อข้อมูลผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด
 

ปี 2563

หน่วยงาน

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

อย.

 

 

  • มีการแต่งตั้งคณะทำงาน CIPO Food Safety
  • มีแผนการดำเนินการในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน

 

  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • วางแผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ประสานและจัดส่งข้อมูลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • แผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สสจ.

  • มีแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานร้อยละ 100 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • วางแผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยระดับจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพผ่านกลไกคณะ อนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ประสานและส่งต่อข้อมูลผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด
 

 

ปี 2564

หน่วยงาน

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

อย.

 

 

  • มีการแต่งตั้งคณะทำงาน CIPO Food Safety
  • มีแผนการดำเนินการในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน

 

  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • วางแผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ประสานและจัดส่งข้อมูลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • แผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

สสจ.

  • มีแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานร้อยละ 100 ของแผน และรายงานผลการดำเนินงานตามช่องทางที่กำหนด
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • วางแผนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยระดับจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
  • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพผ่านกลไกคณะ อนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ประสานและส่งต่อข้อมูลผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด
 
 
วิธีการประเมินผล

การเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ

เอกสารสนับสนุน

เอกสาร KPI Template ประเด็นย่อย 1-2

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ

1. นายชาติชาย  ตั้งทรงสุวรรณ์ (ประเด็นการดำเนินการทางกฎหมาย)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907216       โทรศัพท์มือถือ : 081-1746236

    โทรสาร : 02-5918462                 E-mail : chaitang@fda.moph.go.th

2. นางสาวจุไรรัตน์  ถนอมกิจ  (ประเด็นผักและผลไม้สด)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907406       โทรศัพท์มือถือ : 084-1192288

    โทรสาร : 02-5918460                 E-mail : lawdreamt@gmail.com

3. นางสาวโชตินภา  เหล่าไพบูลย์ (ประเด็นนมโรงเรียน)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907218       โทรศัพท์มือถือ : 081-0557988

    โทรสาร : 02-5918460                 E-mail : fda.schoolmilk@gmail.com

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สำนักอาหาร)

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสาวกนกเนตร  รัตนจันท            

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907030       โทรศัพท์มือถือ : 089-8313381

    โทรสาร : 02-5918460                 E-mail : planning.food@gmail.com

2. นางสาวมนสุวีร์  ไพชำนาญ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907030       โทรศัพท์มือถือ : 081-3685725

    โทรสาร : 02-5918460                 E-mail : planning.food@gmail.com

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สำนักอาหาร)

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักอาหาร

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. น.ส. กนกเนตร  รัตนจันท                 นักวิชาการอาหารและยาชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907030       โทรศัพท์มือถือ : 089-8313381

    โทรสาร : 02-5918460                 E-mail : planning.food@gmail.com

2. นางสาวมนสุวีร์  ไพชำนาญ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907030       โทรศัพท์มือถือ : 081-3685725

    โทรสาร : 02-5918460                 E-mail : planning.food@gmail.com

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>