Healthy Ageing (ด้านสุขภาพ)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดHealthy Ageing (ด้านสุขภาพ)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่012
Sort Order0
คำนิยาม
  • Healthy Ageing หมายถึง “การเพิ่มโอกาสของผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถที่มีส่วนร่วมในสังคม ช่วยเหลือตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” (Swedish institute of public health 2006: Healthy ageing – a challenge for Europe) ซึ่งประเมินด้วย 4 องค์ประกอบ (Indicators for healthy ageing – a debate, Int.J.Environ. Res. Public Health 2013.) ตามบริบทของสาธารณสุขไทย ดังนี้
  1. Limitations and disability หมายความถึง ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (Activities of daily living: ADL)
  2. A comprehensive assessment of resources หมายความถึง การมีสถานะสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งจะได้จากการคัดกรอง/ประเมิน (ดำเนินการตามแบบคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุรายละเอียดการคัดกรอง/ประเมิน ด้วยแนวทาง “คู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ” กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557) ในประเด็น
    1. คัดกรองปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง สุขภาพช่องปาก สุขภาวะ   ทางตา
    2. คัดกรองกลุ่ม Geriatric Syndromes ได้แก่ สมรรถภาพสมอง ภาวะซึมเศร้า     ข้อเข่าเสื่อม ภาวะหกล้ม การกลั้นปัสสาวะ ภาวะโภชนาการ ปัญหาการนอน
    3. ประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแล ได้แก่ การประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Activity of Daily Living: ADL) การประเมิน/คัดกรองผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลระยะยาว
  3. Cognitive and functional capacities หมายความถึง สมรรถภาพสมองและการทำงานของร่างกาย
  4. Diseases and complaints หมายถึง โรคและความเจ็บป่วยที่เป็นปัญหาสำคัญ ในผู้สูงอายุ ที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วเกิดผลกระทบในวงกว้าง และเป็นภาระ (Burden)
หน่วยตัวชี้วัดขั้นตอน
หน่วยของค่า A
นิยามของค่า Aระดับความสำเร็จ/การดำเนินการตามเกณฑ์
หน่วยของค่า B
นิยามของค่า B
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัดA
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายดำเนินการตามข้อ 1 – 5 ตามเกณฑ์
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุทุกคน (ผู้ที่มีอายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป)
ค่าเป้าหมาย1.00
Max Value-
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

มีช่องทางการดำเนินการ ดังนี้

1. บันทึกข้อมูลในระบบคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ Aging health data (กรมการแพทย์ ให้การสนับสนุน)

2. การจัดเก็บด้วยระบบ Manual (เก็บเป็นข้อมูลดิบด้วยกระดาษ)

3. อื่นๆ ตามศักยภาพและความจำเป็นของเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการ

แหล่งข้อมูล

จากการดำเนินการตามวิธีการจัดเก็บข้อมูล 1-3 โดย

1.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

2.รพท. ศ/ รพช.

3.รพ.สต.

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพ (ที่มา: ผลการตรวจราชการ พ.ศ. 2559)

รวมทั้งประเทศ/

เขตสุขภาพ

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง ADL

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (กลุ่ม 2+3)

ร้อยละของผู้สุงอายุที่ได้รับการคัดกรองโรคและปัญหาสำคัญ

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง Geriatric Syndromes

รวมทั้งประเทศ

80.12

6.55

40.22

26.87

2. อัตราความชุกของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงภาวะสมองเสื่อม (ด้วยการประเมิน MMSE) ร้อยละ 8.1

3. อัตราความชุกของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงภาวะหกล้ม ร้อยละ 25.7

4. ร้อยละ 88.6 ของผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (ไม่มีข้อจำกัดในการทำกิจวัตรฯ)

5. มีการนำร่องดำเนินการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุในสถานบริการสุขภาพ ใน 28 แห่ง ของ 12 เขตสุขภาพ

(ที่มา 2,4  : การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 5 พ.ศ.2557)

(ที่มา 3: สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์, การศึกษารูปแบบการป้องกันภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ, 2557)

เกณฑ์การประเมินผล

ดำเนินการตามเกณฑ์เป้าหมาย ข้อ 1 – 5 (ครบทุกข้อ)

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

 

วิธีการประเมินผล

1. รพ.สต. รพช. รพท. และ สสจ. ใช้ระบบคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ (Aging Health data) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถตรวจสอบข้อมูลการคัดกรองและติดตามการดำเนินการได้ในภาพรวม (รายอำเภอ รายตำบล รายสถานพยาบาล)  และหน่วยงานบริการ (รพศ/ท. รพ.ช และ รพ.สต.) ติดตามสถานะสุขภาพผู้สูงอายุรายคนได้โดยละเอียด ด้วยระบบคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ Aging health data ซึ่ง “ระบบคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ Aging health data เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยประมวล/แปรผลค่าคะแนนดิบ/การตอบข้อคำถามของผู้สูงอายุ จากการดำเนินการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งจะมีความสะดวกต่อผู้ปฏิบัติงานที่ให้บริการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ” โปรแกรมนี้ถูกพัฒนาขึ้น ภายใต้ลิขสิทธิ์ของกรมการแพทย์ (ระบบคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ Aging health data มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้พื้นที่คีย์ส่งรายงานใดๆ ดังนั้น ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ กรุณาสื่อสารวัตถุประสงค์โปรแกรมแก่บุคลากรในพื้นที่ให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงเพื่อประโยชน์ในการทำงานภาพรวมของบุคลากร ตลอดจนประโยชน์ของประชาชนเป็นหลักสำคัญ)

2. เจ้าหน้าที่ รพ.สต./ รพช. คีย์สรุปข้อมูลผลการคัดกรอง (ผู้ปฏิบัติจะต้องดำเนินการคัดกรองและแปรผลมาแล้ว จึงจะนำผลไปคีย์ในระบบ 43 แฟ้ม) และปรากฏรายงานผลรวมไปยัง Health data center (HDC)ฯ

เอกสารสนับสนุน

1. ระบบคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ Aging health data (http://aginghealthdata.dms.moph.go.th/geriatric/index.php)

2. คู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ ปี 2557 ฉบับบูรณาการกระทรวงสาธารณสุข

3.แบบฟอร์มคัดกรอง Basic Geriatric Screening: BGS และ Geriatric Screening: GA

4. คู่มือแนวทางการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุในสถานบริการสุขภาพ กรมการแพทย์

(เข้าชมและดาวน์โหลดได้ที่ http://agingthai.dms.moph.go.th/agingthai/)

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์ประพันธ์ พงศ์คณิตานนท์     ผู้อำนวยการสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-0248487        โทรศัพท์มือถือ : 086-7760768          

    โทรสาร :                                           Email : drprapun@yahoo.com

2. นางสาวปิยะนุช ชัยสวัสดิ์                     นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ          

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906255        โทรศัพท์มือถือ : 087-0904560 

    โทรสาร :                                           Email : piyanut.igm@hotmail.com

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1.กองตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข

2.สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์

3.สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. สำนักนิเทศระบบการแพทย์  กรมการแพทย์    

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906357      โทรสาร : 02-9659851                

2. สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906347       โทรสาร : 02-5918279            

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>