ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่003
Sort Order0
คำนิยาม

เด็กอายุ 0 - 5 ปี หมายถึง เด็กแรกเกิด จนถึงอายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วัน

- การคัดกรองพัฒนาการเด็ก หมายถึง ความครอบคลุมของการคัดกรองเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ณ ช่วงเวลาที่มีการคัดกรองโดยเป็นเด็กในพื้นที่ (Type1 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่จริงและType3 ที่อาศัยอยู่ในเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต)

- เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM)และผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ 5ด้าน ทั้งเด็กที่ต้องแนะนำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย 30 วัน (1B261) รวมกับเด็กที่สงสัยล่าช้า ส่งต่อทันที(1B262) (เด็กที่พัฒนาการล่าช้า/ความผิดปกติอย่างชัดเจน)

- เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ 5 ด้าน เฉพาะกลุ่มที่แนะนำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย 30 วัน (1B261) แล้วติดตามกลับมาประเมินคัดกรองพัฒนาการครั้งที่ 2

- เด็กพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำแล้วผลการประเมิน ผ่านครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน(1B260)

- เด็กพัฒนาการล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ไม่ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกและครั้งที่ 2 (1B202, 1B212, 1B222, 1B232, 1B242)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนเด็ก 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำแล้วผลการประเมิน ผ่านครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน(1B260)
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการจริง ในช่วงเวลาที่กำหนด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A+B)/C)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 85 ของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้จากการสำรวจและมีเด็กอยู่จริง
ค่าเป้าหมาย85.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ นำข้อมูลการการประเมินพัฒนาการเด็ก บันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการฯ เช่น JHCIS HosXP PCU เป็นต้น และส่งออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้ม

แหล่งข้อมูล

สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง/ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags43 แฟ้ม
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4 (ไม่สะสม)
ข้อมูล Baseline

ตัวชี้วัด

Baseline

data*

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

1.ร้อยละของเด็กอายุ 9,18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการเด็ก (ความครอบคลุม) *(HDC 2560)

80.5

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

ไม่มีข้อมูล

80.5

2.ร้อยละเด็กที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า **(HDC 2560)

16.0

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

12.0

16.0

3. ร้อยละของเด็กที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า และได้รับการติดตาม*(HDC 2560)

73.3

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

57.0

73.3

4.ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย*(HDC 2560)

95.8

ร้อยละ

ไม่มีข้อมูล

90.6

95.8

*ผลงาน HDC ตค 2559 – กย 2560 ณ. 12 พย.2560

หมายเหตุ : การตั้งค่าเป้าหมายปี 2561 ที่ร้อยละ 85 คิดจากข้อมูลทางวิชาการ พบว่า

          1. เด็กที่มีโรคพัฒนาการล่าช้า (Developmental Disabilities) มีค่าประมาณอยู่ที่ ร้อยละ 3.5 - 24.0 (โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาพบที่ร้อยละ 13.9 และประเทศอิสราเอลพบที่ร้อยละ 8.9 )

          2. มีรายงานการพบเด็กที่มีโรคพัฒนาการล่าช้า (Developmental Disabilities) เพิ่มขึ้นในระยะเวลา 12 ปี (1997-2008) ประเทศสหรัฐอเมริกาพบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 17.1 ประเทศไต้หวันพบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20.0

          ดังนั้นการตั้งค่าเป้าหมายเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยที่ ร้อยละ 85 จึงเป็นค่าเฉลี่ยที่อ้างอิงจากข้อมูลดังกล่าว

เกณฑ์การประเมินผล

กำหนดค่าเป้าหมายที่จะทำให้สำเร็จ 4 ตัวชี้วัด ดังนี้

ตัวชึ้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ตัวชึ้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 9,18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการเด็ก (ความครอบคลุม)

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 90

ร้อยละ 90

ร้อยละ 90

ร้อยละ 90

ตัวชึ้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการตรวจคัดกรองพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า

(ตรวจครั้งแรก)   ไม่น้อยกว่า

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 20

ร้อยละ 20

ร้อยละ 20

ร้อยละ 20

ตัวชึ้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) และได้รับการติดตาม ภายใน 30 วัน ไม่น้อยกว่า

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 90

ร้อยละ 90

ร้อยละ 90

ร้อยละ 90

 
วิธีการประเมินผล

ใช้ข้อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข

ประมวลผลทุก 30 วัน (ทุกเดือน)

*การดึงข้อมูลจาก HDC ต้องรอการบันทึกข้อมูลสมบูรณ์ อย่างน้อย 45 วัน

เอกสารสนับสนุน

1. ฐานข้อมูลในระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข

2. สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก

3. คู่มือนักส่งเสริมพัฒนาการเด็กหลักสูตรเร่งรัด ประจำโรงพยาบาล

4. คู่มือ DSPM (ฉบับปรับปรุง เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์และ QR Code เชื่อมคลิปวีดีโอ)  

    และ คู่มือ DSPM ฉบับพ่อแม่ (ครอบครัว) (เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์)

5. คู่มือมิสนมแม่

6. คู่มือเฝ้าระวังการควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก

7. คู่มือคลินิกเด็กดีคุณภาพ

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ผู้กำกับตัวชี้วัด

1. นายแพทย์วชิระ  เพ็งจันทร์               อธิบดีกรมอนามัย

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904049       โทรศัพท์มือถือ :

     โทรสาร :                                 E-mail : drwachira99@gmail.com

2. นายแพทย์เอกชัย  เพียรศรีวัชรา          ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5918166       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                  E-mail : ekachaipien@hotmail.com

3. นางสาวสายพิณ โชติวิเชียร               ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5918104       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                  E-mail : saipin.chotivichien@gmail.com

 

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางพิมลพรรณ ต่างวิวัฒน์                หัวหน้ากลุ่มอนามัยแม่และเด็ก

                                                สำนักส่งเสริมสุขภาพ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904426       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02–5904427                 E-mail: pimolphan.t@anamai.mail.go.th

2. นายแพทย์ธีรชัย    บุญยะลีพรรณ        รองผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5918104        โทรศัพท์มือถือ :

   โทรสาร :  02–5910557                 E-mail : teerboon@hotmail.com

สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

2. สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ กรมอนามัย

3. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางกิติมา   พัวพัฒนกุล                      พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904405         โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                        E-mail : puapat@yahoo.com

2. นางประภาพรณ์  จังพานิช                   นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904433         โทรศัพท์มือถือ : 087-0771130

    โทรสาร : 02-5904427                       E-mailpaporn11@gmail.com

      กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>