ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่006
Sort Order0
คำนิยาม

เด็กวัยเรียน หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี จนถึง 14 ปี  (โดยเริ่มนับตั้งแต่อายุ 6 ปีเต็ม – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน)

โรงเรียนระดับประถมศึกษาทุกสังกัด หมายถึง โรงเรียนระดับประถมศึกษาหรือโรงเรียนระดับประถมศึกษาขยายโอกาส  และมัธยมศึกษา (มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1 - ม.3)

ภาวะเตี้ย หมายถึง ส่วนสูงของเด็กเมื่อเทียบกับเกณฑ์อายุเดียวกัน มีค่าต่ำกว่า – 2 S.D. แสดงว่าเด็กเติบโตไม่ดีอาจเนื่องมาจากมีการขาดอาหารเรื้อรัง หรือมีการเจ็บป่วยบ่อยๆ

ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน หมายถึง  น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง > + 2 S.D. ขึ้นไปโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของกรมอนามัย ปี 2542   

ภาวะผอม หมายถึง น้ำหนักของเด็กเมื่อเทียบกับเกณฑ์ส่วนสูงเดียวกัน มีค่าต่ำกว่า –2 S.D. แสดงว่าเด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเด็กที่มีส่วนสูงเดียวกัน

สูงดี หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโต กรมอนามัย ปี 2542  มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ -1.5 SD ของส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ

สมส่วน หมายถึง เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน เมื่อเทียบกราฟการเจริญเติบโต  กรมอนามัย ปี 2542 มีค่าระหว่าง +1.5 SD ถึง -1.5 SD ของน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง

เด็กสูงดีสมส่วน หมายถึง  เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป และมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน)

ส่วนสูงเฉลี่ย หมายถึง ค่าเฉลี่ยของส่วนสูงในเด็กชาย และเด็กหญิง อายุ 14 ปี (เด็กอายุ 14 ปีเต็ม ถึง 14 ปี 11 เดือน 29 วัน)  

 

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนเด็กอายุ 6-14 ปีที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 66 ของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงดีสมส่วน
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 6-14 ปี ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา หรือโรงเรียนระดับประถมศึกษาขยายโอกาส มัธยมศึกษาทุกสังกัด (มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1 - ม.3)
ค่าเป้าหมาย66.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

สุ่มสำรวจภาวะโภชนาการร่วมกับการสำรวจทันตสุขภาพในเด็กอายุ 12 ปี

แหล่งข้อมูล

ระบบรายงาน HDC สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

การสำรวจภาวะโภชนาการร่วมกับการสำรวจทันตสุขภาพในเด็กอายุ 12 ปี

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags43 แฟ้ม
ระยะเวลาการประเมินผลวิเคราะห์และสรุปผล ปีละ 2 ครั้ง โดยจัดเก็บข้อมูล 2 ภาคเรียน คือ : ภาคเรียนที่ 1 พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูลเดือน พ.ค., มิ.ย., ก.ค. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ส.ค. ภาคเรียนที่ 2 พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูลเดือน ต.ค., พ.ย., ธ.ค. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ม.ค.
ข้อมูล Baseline

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน

 

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

เด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน

64

ร้อยละ

64

62.6

64.2

เด็กอายุ 6-14 ปี ผอม

-

ร้อยละ

-

5.2

-

เด็กอายุ 5 -14 ปี เริ่มอ้วนและอ้วน

17.0

ร้อยละ

8.8

9.5

13.1

เด็กอายุ 6-14 ปี เตี้ย

-

ร้อยละ

-

7.5

-

ส่วนสูงเฉลี่ยอายุ 12 ปี

-ชาย

-หญิง

 

148.2

151.1

 

เซนติเมตร

เซนติเมตร

-

-

-

หมายเหตุ : ข้อมูลส่วนสูงเฉลี่ย จากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย (สุขภาพเด็ก) โดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 พ.ศ. 2551-2
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ขั้นตอนที่ 1-3.1

(ภาค 2 ปีกศ.59)

ขั้นตอนที่ 3.2, 4 และ 5

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 3.3

(ภาค 1 ปีกศ.60) และ 5

 

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ขั้นตอนที่ 1-3.1

(ภาค 2 ปีกศ.60)

ขั้นตอนที่ 3.2, 4 และ 5

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 3.3

(ภาค 1 ปีกศ.61) และ 5

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ขั้นตอนที่ 1-3.1

(ภาค 2 ปีกศ.61)

ขั้นตอนที่ 3.2, 4 และ 5

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 3.3

(ภาค 1 ปีกศ.62) และ 5

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ขั้นตอนที่ 1-3.1

(ภาค 2 ปีกศ.62)

ขั้นตอนที่ 3.2, 4 และ 5

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 3.3

(ภาค 1 ปีกศ.63) และ 5

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ขั้นตอนที่ 1-3.1

(ภาค 2 ปีกศ.63)

ขั้นตอนที่ 3.2, 4 และ 5

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 3.3

(ภาค 1 ปีกศ.64) และ 5

วิธีการประเมินผล

ขั้นตอนที่ 1  จังหวัดจัดตั้งคณะกรรมการและจัดทำแผนการส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน 

                 และแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนระดับเขต ระดับจังหวัดโดย

                 PM จังหวัด

ขั้นตอนที่ 2  จังหวัดมีฐานข้อมูลภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียนทุกระดับ และนำข้อมูล

                 ไปใช้ในการจัดการปัญหาในพื้นที่ทุกระดับ

ขั้นตอนที่ 3  สถานการณ์ภาวะโภชนาการ ปีละ 2 ครั้ง

                  3.1 จังหวัดมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ(ผอม อ้วน เตี้ย สูงสมส่วน) และคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง

                  3.2  รายงานรอบที่ 1 โดยนำเข้าข้อมูลสถานการณ์ในช่วง 3 เดือน คือ ต.ค., พ.ย., ธ.ค. ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 และส่งสรุปผลภาวะโภชนาการมายังสนย. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ม.ค. 2560

                  3.3  รายงานรอบที่ 2 โดยนำเข้าข้อมูลสถานการณ์ในช่วง 3 เดือน คือ พ.ค., มิ.ย., ก.ค. ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 และส่งสรุปผลภาวะโภชนาการมายังสนย. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ส.ค. 2560 

ขั้นตอนที่ 4  จังหวัดมีการดำเนินการ ดังนี้

                   4.1 การจัดการปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (ผอม อ้วน เตี้ย)

                   4.2 การส่งเสริมให้เด็กมีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน

                   4.3 มีการคัดกรอง ส่งต่อ เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง โดยการตรวจ obesity sign 1) รอบคอดำ 2) นั่งหลับ 3) นอนกรน 4) ประวัติเจ็บป่วยครอบครัว จากสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข (service plan) คลินิก DPAC ติดตามและรายงานผล

                    4.4 มีรายงานการส่งต่อเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงไปยังสถานบริการสาธารณสุขและจัดส่งรายงานตามระบบ

ขั้นตอนที่ 5  จังหวัดมีรายงาน ดังนี้

                   5.1 สถานการณ์ภาวะโภชนาการ ผอม อ้วน เตี้ย สูงสมส่วน

                   5.2 จำนวนนักจัดการน้ำหนักในเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) (ครูข.) และแกนนำนักเรียนด้านการจัดการน้ำหนักในเด็กวัยเรียน  (Smart Kids Leader)

เอกสารสนับสนุน

1. หนังสือแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการในเด็กวัยเรียน

2. หนังสือคู่มือการพัฒนาสู่องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ

3. คู่มือการควบคุมและป้องกันภาวะโภชนาการเกินในเด็กนักเรียน

4. แนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุขและคลินิก DPAC

5. คู่มือนักจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher)

6. แนวทางการควบคุมป้องกันภาวะอ้วนในเด็กนักเรียน

7. แนวทางการจัดค่ายลดน้ำหนักกินพอดีไม่มีอ้วน

8. หนังสืออยากผอม...มาลองทำดู “ดูแลหุ่นสวยด้วยตัวเอง”สำหรับเด็กวัยเรียนและวัยใส

9. หนังสือผักผลไม้สีรุ้ง

10.หนังสือข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับเด็กวัยเรียน

11.แผ่นพับกินพอดี ไม่มีอ้วน

12.แผ่นพับผักผลไม้สีรุ้ง

13.แผ่นพับโตขึ้นหุ่นดีไม่มีอ้วน

14.แผ่นพับการออกกำลังกายสำหรับนักเรียน

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสาวพรวิภา  ดาวดวง                   นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904334       โทรศัพท์มือถือ : 

    โทรสาร : 02-5904339                    E-mail : pornwipa.dd@anamai.mail.go.th

2. นางสาวใจรัก ลอยสงเคราะห์              นักโภชนาการปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904334        โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5904339                     E-mail : jairak.l@anamai.mail.go.th

กลุ่มส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904336

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1.นางสาวพรวิภา  ดาวดวง                          นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904334              โทรศัพท์มือถือ : 

   โทรสาร : 02-5904339                           E-mail : pornwipa.dd@anamai.mail.go.th

2.นางสาวใจรัก ลอยสงเคราะห์                     นักโภชนาการปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904334               โทรศัพท์มือถือ :  

   โทรสาร : 02-5904339                            E-mail : jairak.l@anamai.mail.go.th

กลุ่มส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

3.นายชัยชนะ บุญสุวรรณ                             นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904336                โทรศัพท์มือถือ :  

   โทรสาร : 02-5904339                             E-mail : chaichana.b@anamai.mail.go.th

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

4.นางสาวสุรีย์รัตน์ พิพัฒน์จารุกิตติ์                  นักโภชนาการปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904336                 โทรศัพท์มือถือ :  

   โทรสาร : 02-5904339                              E-mail : sureerat.pi@anamai.mail.go.th

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>