ร้อยละของ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดเขต
ตัวชี้วัดที่054
Sort Order0
คำนิยาม

การพัฒนาตัวชี้วัด ER คุณภาพในโรงพยาบาล โดยทั่วไปจะเน้นประเมินใน 3 ส่วน คือ

มิติที่ 1 มิติการบริการ และนโยบาย หมายถึง การประเมินผู้อำนวยการและทีมบริหาร เกี่ยวกับนโยบาย การสนับสนุนการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน

มิติที่ 2 มิติผู้ให้บริการ จะเน้นในประเด็น ความพร้อมของทรัพยากร ได้แก่ อาคารสถานที่  บุคลากร ระบบการให้คำปรึกษา  การวิเคราะห์ข้อมูล

มิติที่ 3 มิติด้านผู้รับบริการ คือ เน้นในด้านผลลัพธ์จากการเข้ารับบริการรักษาพยาบาล

(อ้างอิงนิยาม จากแนวทางการพัฒนาสู่มาตรฐานด้านการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลระดับต่างๆ จัดทำโดย กรมการแพทย์ โดยความร่วมมือจากสมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย) และ สถาบันรับรองคุณภาพฯ  นอกจากนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับการเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาล

การรักษาพยาบาล (Emergency care) เป็นองค์ประกอบด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล  หมายถึง ความสามารถของห้องฉุกเฉินที่ให้บริการต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน ในกระบวนการต่างๆ ได้แก่ 1) Triage 2) Resuscitation 3) Stabilization 4) การจัดบริการด่วนพิเศษ (Special Track) และ 5) Definitive Care ในโรงพยาบาล

การจัดบริการด่วนพิเศษ (Special Track) หมายถึง การจัดระบบบริการจำเพาะบางภาวะที่ให้การดูแลรักษาด่วนตามระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งจะเกิดผลดีต่อการรักษา (หากเลยกำหนดนั้นไปแล้วอาจทำให้ผลการรักษาลดลง) เช่น Stroke Fast Track, AMI Fast Track เป็นต้น

การวัด Productivity จากการเข้ารับบริการด่วนพิเศษ (Special Track) ของ fast track ต่างๆ ที่ผ่านเข้ามาในห้องฉุกเฉิน เป็นแนวทางหนึ่งของการวัดผลลัพธ์ (out come)  ER คุณภาพ โดยวัดคุณภาพจากข้อมูลผู้ป่วยหนักที่ได้รับการดูแลจาก door to EKG  และ door to SK  ใน รพ.ทุกระดับ

ในปี พ.ศ. 2560 การเก็บข้อมูลตัวชี้วัด ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป 
ได้กำหนดให้มีการวัดผลลัพธ์ (out come) การจัดบริการด่วน Fast Track โดยเก็บข้อมูลย้อนหลัง 3 เดือน ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันนอกโรงพยาบาล (OHCA : out-of-hospital cardiac arrest)  ที่ได้รับการฟื้นคืนชีพจนผู้ป่วยรู้สึกตัวและมีสัญญานชีพคืนมา ( ROSC : Return of Spontaneous Circulation)  เพื่อนำไปสู่การพัฒนา ER ใน โรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปให้มีคุณภาพ  คาดว่าจะส่งผลให้อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วย
ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลมีมากขึ้น ภาวะทุพพลภาพภายหลังจากรอดชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลมีจำนวนลดลง 

คำนิยาม

  1. OHCA : Out-of-Hospital Cardiac Arrest (ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันนอกโรงพยาบาล)  วินิจฉัยโดยบุคลากรทางการแพทย์ตั้งแต่นักกู้ชีพขึ้นไป
    (ได้แก่ อาสากู้ชีพ  เวชกรฉุกเฉิน  พยาบาล  แพทย์ เป็นต้น)

ROSC  : Return of Spontaneous Circulation (ภาวะที่ได้รับการฟื้นคืนชีพ จนผู้ป่วยรู้สึกตัวและมีสัญญานชีพคืนมา 

 
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป ในจังหวัด ที่ผ่านเกณฑ์ประเมินคุณภาพ
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ทั้งหมดในจังหวัด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายจำนวนโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปที่ผ่านเกณฑ์ประเมินคุณภาพตามที่กำหนดไว้
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป
ค่าเป้าหมาย25.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

จัดเก็บข้อมูลจาก

1. ER หรือ Trauma and Emergency Administration Unit ( TEA  unit)  ของ โรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป  เก็บข้อมูล Data ของ OHCA โดยใช้แบบฟอร์มของกรมการแพทย์ตามประเด็นที่กำหนด 

2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็นผู้รวบรวมแบบฟอร์มข้อมูลในภาพรวมของโรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป ในระดับจังหวัด

3. สำนักวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ รวบรวมข้อมูลและประเมินผลในภาพรวมระดับเขต และประเทศ

แหล่งข้อมูล

จากข้อมูล OHCA และ ROSC ของโรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป  (ระยะ 3 เดือน ย้อนหลัง)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
TagsPA, สตป.
ระยะเวลาการประเมินผล1) ติดตามเก็บข้อมูล OHCA และ ROSC ในไตรมาส 3 2) ประเมินติดตาม ในไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

NA

ร้อยละ

NA

NA

NA

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

ติดตามการดำเนินงาน

-

ร้อยละ 25

 

 

 

 

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

ติดตามการดำเนินงาน

-

ร้อยละ 50

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

-

ติดตามการดำเนินงาน

-

ร้อยละ 60

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

-

ติดตามการดำเนินงาน

-

ร้อยละ 70

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

-

ติดตามการดำเนินงาน

-

ร้อยละ 80

วิธีการประเมินผล

ขั้นตอน 1. โรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป มีคณะกรรมการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล 

ขั้นตอน 2. คณะกรรมการกำหนดระบบการจัดเก็บข้อมูล และ ผู้รับผิดชอบ จาก ER หรือ Trauma and Emergency Administration Unit ( TEA  unit) ของโรงพยาบาล เพื่อทำหน้าที่เก็บข้อมูลของโรงพยาบาล โดยเก็บข้อมูลในเดือนสุดท้ายของไตรมาสที่ 3 (เก็บข้อมูลย้อนหลังของ 3 เดือน)  ตามแบบฟอร์มที่กรมการแพทย์กำหนดให้ ในข้อมูลต่อไปนี้

ข้อมูลที่จัดเก็บ                                                ระดับ รพ.ที่เก็บ

1) ข้อมูล OHCA                                            รพ. ระดับ F2 ขึ้นไป

2) ข้อมูล ROSC                                             รพ. ระดับ F2 ขึ้นไป

3) ข้อมูล Survival to hospital Admission           เฉพาะ รพ. ระดับ A , S

4) ข้อมูล Survival to Refer                              เฉพาะ รพ. ระดับ F2 ,M1, M2

ขั้นตอน 3. โรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ส่งข้อมูลให้กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดดำเนินการรวบรวมข้อมูลในภาพรวมของจังหวัดส่งให้กับ สำนักวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ เพื่อทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลและประเมินผล ร้อยละของ ER คุณภาพ เทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในภาพรวมระดับเขต และประเทศ เป็นลำดับต่อไป

เอกสารสนับสนุน

 แบบฟอร์มการเก็บข้อมูล OHCA : Out-of-Hospital Cardiac Arrest สำหรับโรงพยาบาล จัดทำโดย กรมการแพทย์

 

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. พ.ญ.นฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ           

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286       โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

    โทรสาร : 02-5918276                    E-mail : mertthailand@gmail.com

                                                                    ieip.dms@gmai.com

กรมการแพทย์

2. น.พ.รัฐพงษ์   บุรีวงษ์                                แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 

    โทรศัพท์ที่ทำงาน: 035-211888 ต่อ 2103    โทรศัพท์มือถือ : 086-5694886

    โทรสาร : 035-242182                             E-mail : rattapong_b@gmail.com

โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา

3. น.พ.พัฒธพงษ์  ประภาสันติกุล           นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ       
    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                         โทรศัพท์มือถือ : 081-9370567
    โทรสาร : 035-511738                    E-mail : opps12345@yahoo.com

โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จ.สุพรรณบุรี

4. นพ.ไพโรจน์ เครือกาญจนา               หัวหน้ากลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                         โทรศัพท์มือถือ : 081-6400614

    โทรสาร :                                      E-mail :

โรงพยาบาลราชวิถี

5. นพ.สัจจะ ชลิตาภรณ์                     กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                       โทรศัพท์มือถือ : .095-9254656       

    โทรสาร :                                    Email: tsenjoyme@gmail.com

โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี

6. นพ.เกษมสุข  โยธาสมุทร                 กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 083-8033310

    โทรสาร :                                     E-mail :

โรงพยาบาลเลิดสิน

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. พ.ญ.นฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ           

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286       โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

    โทรสาร : 02-5918276                    E-mail : mertthailand@gmail.com

                                                                     ieip.dms@gmai.com

กรมการแพทย์

2. นางนริศรา   แย้มทรัพย์                     นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5906285        โทรศัพท์มือถือ : 081-9883925

   โทรสาร : 02-5918276                      E-mail : narisara.yamsup@gmai;.com

กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์ 

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. พ.ญ.นฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ           

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286                โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

    โทรสาร : 02-5918276                             E-mail : mertthailand@gmail.com

                                                                            ieip.dms@gmai.com

กรมการแพทย์

2. นางนริศรา   แย้มทรัพย์                       นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906285          โทรศัพท์มือถือ : 081-9883925

    โทรสาร :02-5918276                        E-mail :narisara.yamsup@gmai;.com

กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>