ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็น Smart Hospital (รพ. ระดับ A, S, M1, M2)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของหน่วยบริการที่เป็น Smart Hospital (รพ. ระดับ A, S, M1, M2)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่060.1
Sort Order0
คำนิยาม

 

Smart Hospital หมายถึง โรงพยาบาลภาครัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการจัดบริการภายในโรงพยาบาล ลดขั้นตอนการปฏิบัติ และเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการรับบริการที่มีคุณภาพดี มีความปลอดภัย และทันสมัยอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

1) Smart Place/Infrastructure

          โรงพยาบาลมีการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ผ่านเกณฑ์การดำเนินงาน GREEN&CLEAN Hospital ของกรมอนามัย และจัดตกแต่งสถานที่ให้สวยงาม ดูมีความทันสมัย (Digital Look) ช่วยเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการรับบริการ

2) Smart Tools

          โรงพยาบาลมีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ให้มีความถูกต้องแม่นยำ สะดวกรวดเร็ว ลดความเสี่ยงความผิดพลาดต่างๆ ลดระยะเวลา เพิ่มความปลอดภัย และเพิ่มความพึงพอใจของผู้รับบริการ อาทิ เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์อัตโนมัติ ระบบบริหารจัดการคิว รูปแบบดิจิทัล รูปแบบออนไลน์

3) Smart Services

          โรงพยาบาลมีการบริหารจัดการกระบวนงานที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการพัฒนาองค์กรตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย และ พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 เช่น การยกเลิกการเรียกรับสำเนาบัตรประชาชนและเอกสารอื่นที่ออกโดยราชการจากผู้รับบริการ  การจัดเก็บข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยด้วยรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (EMR : Electronic Medical Records) การใช้ใบสั่งยาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์  การลดระยะเวลารอคอยรับบริการ   การมีบริการนัดหมายแบบเหลื่อมเวลา หรือมีการจัดกลุ่มผู้รับบริการ ได้รับบริการตรงเวลาหรือแตกต่างเล็กน้อยอย่างเหมาะสม เป็นต้น

4) Smart Outcome

          โรงพยาบาลมีการบริหารจัดระบบงานให้มีความเชื่อมโยงกันได้อย่างอัตโนมัติ โดยนำระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) มาใช้ โดยเฉพาะระบบหลักของโรงพยาบาล (Core Business Process) เพื่อให้มีระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อการบริหารจัดการได้อย่างรวดเร็ว ป้องกันความเสี่ยงด้านการเงินการบัญชี การจัดซื้อจัดจ้าง ป้องกันปัญหาการขาดแคลนและความไม่สมดุลด้านทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรในระบบบริการ มีการบริหารจัดการ Unit Cost ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม และเพื่อเพิ่มคุณภาพระบบบริการ จัดการระยะเวลารอคอยได้อย่างเหมาะสม

5) Smart Hospital

          โรงพยาบาลมีประสิทธิภาพในการจัดการ มี Unit Cost ในเกณฑ์ที่เหมาะสมสามารถเปรียบเทียบ (Benchmarking) กับหน่วยงานอื่นได้  มีการจัดการและป้องกันความเสี่ยง (Proactive Risk Management) ที่ดีในทุกมิติ เพื่อให้การบริการมีคุณภาพดีในทุกมิติ และมีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์พลังงาน อย่างยั่งยืน

เกณฑ์การประเมินผล

 

 

** BPM: Business Process Management : การบริหารจัดการกระบวนงานที่มีประสิทธิภาพ

 

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กำหนดเกณฑ์การประเมินหน่วยบริการที่เป็น Smart Hospital มีการดำเนินงาน ดังนี้

  1. Smart Place
    1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โรงพยาบาล Green and Clean & Digital Look
  2. Smart Tools (อย่างน้อย 2 ข้อ ไม่เรียงลำดับ)

2.1 Queue: มีหน้าจอแสดงลำดับคิว ในจุดที่เหมาะสม เพื่อลดความแออัดบริเวณจุดบริการ และหน้าห้องตรวจ

2.2 Queue: 1

2.3 Devices: Vital Sign) 1HIS

  1. Smart Services (อย่างน้อย 4 ข้อ ไม่เรียงลำดับ)

3.1 BPM : ยกเลิกการเรียกรับสำเนาบัตรประชาชนและเอกสารอื่นที่ออกโดยราชการ จากผู้รับบริการ

3.2 BPM : มีการจัดเก็บข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยด้วยรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (EMR : Electronic Medical Records)

3.3 BPM : มีการใช้ใบสั่งยาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (OPD ทุกห้องตรวจ)     

3.4 BPM : มีข้อมูลระยะเวลารอคอยรับบริการ อย่างน้อย 1 จุด บริการ OPD

3.5 BPM : มีบริการนัดหมายแบบเหลื่อมเวลา หรือมีการจัดกลุ่มผู้รับบริการ ได้รับบริการตรงเวลาหรือแตกต่างเล็กน้อยอย่างเหมาะสม

 

 

 
 
  • รพ. ระดับ A, S, M1, M2  80%
  • รพ. ระดับ F1, F2, F3  50%
  • รพ. นอกสังกัด สป.  80%
 

 

 

 

หน่วยตัวชี้วัดจำนวน
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายที่ 1 ที่เป็น Smart Hospital ( รพ. ระดับ A, S, M1, M2)
หน่วยของค่า B
นิยามของค่า Bจำนวนหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายที่ 1 ทั้งหมด (เป้าหมายที่ 1 หมายถึง รพ. ระดับ A, S, M1, M2)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 80
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเป้าหมายที่ 1 หมายถึง รพ. ระดับ A, S, M1, M2 • เป้าหมายที่ 2 หมายถึง รพ. ระดับ F1, F2, F3 • เป้าหมายที่ 3 หมายถึง รพ. นอกสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข • หน่วยบริการ หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน หน่วยบริการสังกัดกรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมควบคุมโรค
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

หน่วยบริการในกลุ่มเป้าหมาย รายงานผลการดำเนินงานไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

หน่วยบริการในกลุ่มเป้าหมาย สังกัดกรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมควบคุมโรค  รายงานผลการดำเนินงานไปยังศูนย์ไอทีกลางของกรม

 กองบริหารการสาธารณสุข กำกับติดตามและให้ความช่วยเหลือด้านกระบวนการ

แหล่งข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมควบคุมโรค

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 3 และ 4 (6, 9 และ 12 เดือน)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2561

2562

ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็น Smart Hospital

 

 

 

 

  • รพศ./รพท.

ร้อยละ

-

-

90.76

  • รพช.

ร้อยละ

-

-

69.67

  • กรม

ร้อยละ

-

-

71.15

 
เกณฑ์การประเมินผล

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

สรุปยอด ณ 15 มี.ค.63

รอบ 9 เดือน

สรุปยอด ณ 15 มิ.ย.63

รอบ 12 เดือน

สรุปยอด ณ 31 ส.ค.63

มีกิจกรรมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน Smart Hospital

ร้อยละ 20
กลุ่มเป้าหมายที่ 1

ร้อยละ 50
กลุ่มเป้าหมายที่ 1

ร้อยละ 80
กลุ่มเป้าหมายที่ 1

ร้อยละ 10
กลุ่มเป้าหมายที่ 2

ร้อยละ 30
กลุ่มเป้าหมายที่ 2

ร้อยละ 50
กลุ่มเป้าหมายที่ 2

ร้อยละ 20
กลุ่มเป้าหมายที่ 3

ร้อยละ 50
กลุ่มเป้าหมายที่ 3

ร้อยละ 80
กลุ่มเป้าหมายที่ 3

วิธีการประเมินผล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตรวจสอบผลการดำเนินงานและจัดส่งรายงานผล ไปยัง กองบริหารการสาธารณสุข

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตรวจสอบข้อมูลการใช้โปรแกรม Smart Health ID ในกระบวนการยกเลิกการเรียกรับสำเนาบัตรประชาชนและเอกสารอื่นที่ออกโดยราชการ และจัดส่งรายงานผลไปยังกองบริหารการสาธารณสุข

กองบริหารการสาธารณสุข กำกับติดตาม

เอกสารสนับสนุน

คู่มือการติดตั้ง Smart Health ID (โปรแกรมเรียกใช้ข้อมูลประชาชนกลางจาก Population Information Linkage Center กรมการปกครอง)

คู่มือการติดตั้ง Q4U (โปรแกรมจัดการ Queue แจ้งเตือนลำดับเรียกผ่าน H4U app.)

คู่มือการติดตั้งเชื่อมข้อมูลของเครื่องมือแพทย์ (Vital Sign) เข้าสู่ HIS อัตโนมัติ

แนวทางการดำเนินงาน Smart Hospital

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. เรื่องช่องทางแจ้งเตือนคิวออนไลน์ (กรณีใช้ Q4U ผ่าน H4U)

นางกนกวรรณ มาป้อง                        นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการพิเศษ                                                        

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025902185 ต่อ 414   โทรศัพท์มือถือ : 0871015708

โทรสาร : 025901215                       E-mail : ict-moph@health.moph.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

2. เรื่องยกเลิกการเรียกรับสำเนาบัตรประชาชนและเอกสารอื่นที่ออกโดยราชการ (กรณีใช้โปรแกรม Smart Health ID)

นางสินินาฎ  พรัดมะลิ                         นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ                                                        

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025902185 ต่อ 314   โทรศัพท์มือถือ : 0896834737

โทรสาร : 025901215                       E-mail : ict-moph@health.moph.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

3. กระบวนการขับเคลื่อนและภาพรวมการประเมินผล

นางอรสา เข็มปัญญา                            นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญพิเศษ 

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901542-3             โทรศัพท์มือถือ : 0935792565

E-mail : aoy2510@gmail.com

กองบริหารการสาธารณสุข สป.สธ.

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. กองบริหารการสาธารณสุข สป.สธ.

2. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

นางอรสา เข็มปัญญา                            นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญพิเศษ 

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901542-3            โทรศัพท์มือถือ : 0935792565

E-mail : aoy2510@gmail.com

กองบริหารการสาธารณสุข สป.สธ.

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>