มีการใช้ Application สำหรับ PCC ในหน่วยบริการปฐมภูมิ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดมีการใช้ Application สำหรับ PCC ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่050
Sort Order0
คำนิยาม

PCC : Primary Care Cluster คลินิกหมอครอบครัว หมายถึง ระบบบริการที่มีทีมหมอครอบครัว ดูแลประชาชนจำนวน 10,000 คนต่อทีม มีบทบาทในการให้ บริการทุกคน บริการทุกอย่าง บริการทุกที่ บริการทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี โดยขยายความได้ดังนี้

  • บริการทุกคน คือ ดูแลตั้งแต่ ตั้งครรภ์ วัยทารก วัยเด็กนักเรียน วัยทำงาน จนถึงวัยสูงอายุ
  • บริการทุกอย่าง คือ งานส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกันโรค งานรักษาพยาบาล งานฟื้นฟูสภาพและงานคุ้มครองผู้บริโภค
  • บริการทุกที่ คือ ทำงานในที่ตั้งคลินิกหมอครอบครัว ทำงานเชิงรุกให้บริการ    ที่บ้านและชุมชน
  • บริการทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี คือ ให้คำปรึกษา ประชาชนสามารถสอบถามปัญหาเรื่องป้องกันรักษา และยามเจ็บไข้ได้ป่วย ด้วยการทิ้งคำถามไว้ในกลุ่ม LINE หรือ Facebook แล้วมีทีมหมอครอบครัวเข้ามาช่วยกันตอบ แต่ต้องระวังเรื่องความลับของผู้ป่วย สามารถถ่ายภาพเพื่อให้หมอครอบครัว ช่วยแนะนำดูแลหรือ โทรศัพท์ในเวลาเจ็บป่วยฉุกเฉินจำเป็นตามแต่จะตกลงกัน

ทีมหมอครอบครัว ประกอบด้วย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว    ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล นักวิชาการสาธารณสุข และสหสาขาวิชาชีพ กำหนดให้เป็นการทำงานร่วมกันของทีมจากโรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ต้องบูรณาการร่วมกัน ยกเว้น เขตเทศบาลที่ตั้งของโรงพยาบาลที่ไม่มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ต้องจัดทีมทั้งหมดจากโรงพยาบาล
(อ้างอิง แนวทางการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัวสำหรับหน่วยบริการ, หน้า 2-3)

Application PCC หมายถึง ระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ Desktop หรือ Notebook และสามารถใช้งานผ่าน Mobile Device (Smart Phone/Tablet) สำหรับทีมหมอครอบครัว (PCC) ในการติดตามดูแลผู้ป่วย/ประชาชน ในพื้นที่ดูแลรับผิดชอบ ซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System : HIS) แต่มีขนาดเล็ก กระทัดรัด  เหมาะสม มีความคล่องตัวและสะดวกในการใช้งาน  

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aทีม
นิยามของค่า Aจำนวนทีม PCC ที่มีการใช้ app. PCC Link (เฉพาะจังหวัดนำร่อง 12 จังหวัด)
หน่วยของค่า Bทีม
นิยามของค่า B204
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายทีม PCC จำนวน 204 ทีม ของ 12 จังหวัดนำร่อง (เขตสุขภาพละ 1 จังหวัด)
ประชากรกลุ่มเป้าหมายทีม PCC (ทีมหมอครอบครัว) ทั่วประเทศ
ค่าเป้าหมาย100.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. ศทส. สป.สธ. ตรวจสอบการใช้ App. PCC จาก Log File Server

2. สสป. รายงานผลการทดลองใช้ App. PCC

แหล่งข้อมูล

1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)

2. โรงพยาบาลแม่ข่ายของทีม PCC
3. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ศทส.) สป.สธ.

4. สำนักสนับสนุนระบบปฐมภูมิ (สสป.)

5. สำนักงานเขตสุขภาพ

6. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4 (12 เดือน)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

มีการใช้ Application สำหรับ PCC ในหน่วยบริการปฐมภูมิ

แห่ง

-

-

-

 
เกณฑ์การประเมินผล

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. มีการจัดทำข้อสรุปแนวทางการพัฒนา Application สำหรับ PCC รายงานเสนอ CIO สป.สธ. ทราบ

2. มีการคัดเลือกทีม PCC เป้าหมาย อย่างน้อยเขตสุขภาพละ 1 จังหวัด เป็น PCC นำร่อง

 

1. มีการพัฒนา Application สำหรับ PCC

2. มีการจัดทำ Work Shop การพัฒนา Application สำหรับ PCC  ให้แก่ Admin ของจังหวัดเป้าหมาย ได้แก่ เชียงราย เพชรบูรณ์ กำแพงเพชร ปทุมธานี กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา กาฬสินธุ์ เลย สุรินทร์ อุบลราชธานี สุราษฎร์ธานี ตรัง

3. มีการรายงานความก้าวหน้าในการพัฒนา Application สำหรับ PCC เสนอ CIO สป.สธ. ทราบ

 

ร้อยละ 50 ของจำนวนทีม PCC ทั้งหมด ในจังหวัดนำร่อง 12 จังหวัด มีการใช้ app. PCC Link

จำนวนทีมทั้งหมด:-
1. เชียงราย 21 ทีม

2. เพชรบูรณ์ 14 ทีม

3. กำแพงเพชร 27 ทีม

4. ปทุมธานี 14 ทีม

5. กาญจนบุรี 14 ทีม

6. ฉะเชิงเทรา 15 ทีม

7. กาฬสินธุ์ 12 ทีม

8. เลย 7 ทีม

9. สุรินทร์ 10 ทีม

10. อุบลราชธานี 37 ทีม

11. สุราษฎร์ธานี 17 ทีม

12. ตรัง 16 ทีม

ร้อยละ 100 ของจำนวนทีม PCC ทั้งหมด ในจังหวัดนำร่อง 12 จังหวัด มีการใช้ app. PCC Link


 

วิธีการประเมินผล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตอบแบบสำรวจการใช้ Application สำหรับทีมหมอครอบครัว (Online - Google Form)

2. ตรวจสอบจาก Log File ของ Application PCC Link

3. สอบถามจากทีมหมอครอบครัว (PCC) ที่ใช้งานจริง

เอกสารสนับสนุน

1. เอกสารประกอบการประชุม MOPH CIO Conference (ผ่าน VDO Conference) ครั้งที่ 3/2562 วาระ 4.2 ชี้แจงแนวปฏิบัติการดำเนินงานตัวชี้วัด Digital Transformation-PCC Application
2. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้โปรแกรมสำหรับระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster : PCC) ด้วยโปรแกรม PCC Link

3. แนวทางการปฏิบัติงานของทีมหมอครอบครัว (PCC Platform) โดย สำนักสนับสนุนระบบปฐมภูมิ

4. แบบสำรวจการใช้ Application สำหรับทีมหมอครอบครัว (Online - Google Form)

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

Project Manager:

1. นายแพทย์ไพฑูรย์  อ่อนเกตุ     รองผู้อำนวยการกลุ่มภารกิจด้าน

                                      การบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลกำแพงเพชร

  โทรศัพท์ที่ทำงาน :    -                      โทรศัพท์มือถือ : 0931310808

  โทรสาร :  -                                  E-mail : paitoongt@gmail.com

  โรงพยาบาลกำแพงเพชร / สำนักสนับสนุนระบบปฐมภูมิ (สสป.)

 

2. นายวสันต์  สายทอง             นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ

                                       รองผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ

                                       การสื่อสาร สป.สธ.

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025902185 ต่อ 416   โทรศัพท์มือถือ : 0816399532

   โทรสาร : 025901215                    E-mail : wasun.s@moph.go.th

   ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

3. แพทย์หญิงชูหงส์ มหรรทัศนพงศ์         หัวหน้ากลุ่มงานเวชกรรมสังคม

   โทรศัพท์ที่ทำงาน :  044521200         โทรศัพท์มือถือ : 0815429333

   โทรสาร : 044521200                    E-mail : mchoohong@gmail.com

   โรงพยาบาลสุรินทร์

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1.นายสัมฤทธิ์  สุขทวี                        นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ

  โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901214           โทรศัพท์มือถือ : 0818017543

  โทรสาร : 025901215                     E-mail : hait@moph.go.th

  ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

นางรุ่งนิภา อมาตยคง                        นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901200            โทรศัพท์มือถือ : 0870276663

โทรสาร : 025901215             E-mail : ict-moph@health.moph.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>