RDU ขั้นที่ 1

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดRDU ขั้นที่ 1
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่017.1
Sort Order0
คำนิยาม

RDU เป็นการประเมินโรงพยาบาล/เครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ ซึ่งประกอบด้วยการประเมิน  RDU Hospital และ RDU PCU

- RDU Hospital หมายถึง โรงพยาบาลแม่ข่าย (รพศ./รพท./รพช.)

- RDU PCU หมายถึง หน่วยบริการปฐมภูมิลูกข่าย (รพ.สต.และหน่วยบริการปฐมภูมิที่เรียกชื่ออื่น)

ระดับการพัฒนาสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มี 3 ระดับดังนี้

  • RDU ขั้นที่ 1 หมายถึงการดำเนินการผ่านเงื่อนไขต่อไปนี้

RDU 1  (รพ.)

RDU 2 (รพ.สต.ใน CUP)

  1. อัตราการสั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
  2. การดำเนินงานของ PTC ผ่านเกณฑ์ระดับ 3
  3. รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ ซึ่งยังคงมีอยู่ในบัญชีรายการยาของโรงพยาบาลไม่เกิน 1 รายการ

 4. จัดทำฉลากยามาตรฐาน ผ่านเกณฑ์ระดับ 3

5. การส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อจัดหายาและการส่งเสริมการขายยา ผ่านระดับ 3

จำนวน รพ.สต.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของ รพ.สต.ทั้งหมดในเครือข่ายระดับอำเภอที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันผ่านเกณฑ์เป้าหมายทั้ง 2 โรค

  • RDU ขั้นที่ 2 หมายถึง การดำเนินการผ่านเงื่อนไขต่อไปนี้

RDU 1

RDU 2

  1. ผลการดำเนินงานของตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัดตาม RDU ขั้นที่ 1
  2. อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน โรคอุจาระร่วงเฉียบพลัน แผลสดอุบัติเหตุ และสตรีคลอดปกติครบกำหนดคลอดทางช่องคลอด ผ่านเกณฑ์ทั้ง 4 ตัวชี้วัด  (ปี 2562 เกณฑ์ RI รพศ./รพท. ≤ 30 % และ รพช.≤ 20 %, AD ≤ 20 %, FTW ≤ 50 %, APL ≤ 15 %)
  3. การใช้ยา NSAIDs ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3ขึ้นไป ไม่เกินร้อยละ10
  4. การใช้ยา glibenclamide ในผู้ป่วยสูงอายุ หรือไตทำงานบกพร่อง ไม่เกินร้อยละ 5
  5. การไม่ใช้ยาที่ห้ามใช้ในสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ warfarin*, statins, ergots (* ยกเว้นกรณีใส่ mechanical heart valve)

จำนวน รพ.สต.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของ รพ.สต.ทั้งหมดในเครือข่ายระดับอำเภอ ที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันผ่านเกณฑ์เป้าหมายทั้ง 2 โรค

(เกณฑ์ RI ≤ 20 %, AD ≤ 20 %)

  • RDU ขั้นที่ 3 หมายถึง การดำเนินการผ่านเงื่อนไขต่อไปนี้

RDU Hospital

RDU PCU

  1. ผลการดำเนินงานผ่านตามเกณฑ์ในคู่มือ RDU Service plan ครบทั้ง 18 ตัวชี้วัด
    (หมายเหตุ เกณฑ์ในคู่มือ RI ≤ 20 %, AD ≤ 20 %, FTW ≤ 40 %, APL ≤ 10 %)

จำนวน รพ.สต.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ รพ.สต.ทั้งหมดในเครือข่ายระดับอำเภอ ที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันผ่านเกณฑ์เป้าหมายทั้ง 2 โรค

 

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาลผ่าน RDU ขั้นที่ 1
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย80%
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายระดับอำเภอ
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รายงาน

แหล่งข้อมูล

ข้อมูลจากโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1 2 3 และ 4 (ทุก 3 เดือน (ประมวลผลยอดสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ))
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

RDU

ร้อยละ

-

RDU ขั้นที่ 1 

ร้อยละ 61.49

RDU ขั้น 1 ร้อยละ 95.30 และ RDU ขั้น 2 ร้อยละ 9.51

(ข้อมูล 9 เดือน)

(ไม่ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 15)

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

RDU ขั้นที่ 1 ≥ 80 %

RDU ขั้นที่ 2 ≥ 10 %

RDU ขั้นที่ 1 ≥ 85 %

RDU ขั้นที่ 2 ≥ 10 %

RDU ขั้นที่ 1 ≥ 90 %

RDU ขั้นที่ 2 ≥ 15 %

RDU ขั้นที่ 1 ≥ 95 %

RDU ขั้นที่ 2 ≥ 20 %

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

วิธีการประเมินผล

การรายงาน และการวิเคราะห์เปรียบเทียบผล

เอกสารสนับสนุน

รายการตัวชี้วัดเพื่อประเมินระดับการพัฒนาสู่การเป็นหน่วยบริการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ภญ.ไพรำ บุญญะฤทธิ์                             เภสัชกรชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901628                 โทรศัพท์มือถือ : 092-3953289

    โทรสาร : 02-5901634                           E-mail : praecu@gmail.com

    สำนักบริหารการสาธารณสุข (ตัวชี้วัด RDU และ AMR)

2. ภญ.นุชรินธ์  โตมาชา                              เภสัชกรชำนาญการ                

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907155                 โทรศัพท์มือถือ : 061-7317779

    โทรสาร : 02-5907341                           E-mail : nuchy408@gmail.com

    สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (ตัวชี้วัด RDU)

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (AMR)

กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (RDU)

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. ภญ.สรียา เวชวิฐาน                                     เภสัชกรชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907392                        โทรศัพท์มือถือ :

โทรสาร : 02-5918486                                 E-mail : swech@fda.moph.go.th

กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

2.ภญ.ไพรำ บุญญะฤทธิ์                                เภสัชกรชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901628                     โทรศัพท์มือถือ : 092-3953289

โทรสาร : 02-5901634                                E-mail : praecu@gmail.com

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>