ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่038
Sort Order0
คำนิยาม

ประชากร หมายถึง ประชาชนที่เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตทุกคนในประเทศไทย

การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน หมายถึง การที่ประชากรที่เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยชุดปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานตั้งแต่จุดเกิดเหตุจนถึงสถานพยาบาลโดยการสั่งการของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ

ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (สีแดง) ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหันซึ่งมีภาวะคุกคามต่อชีวิตซึ่งหากไม่ได้รับปฏิบัติการแพทย์ทันที เพื่อแก้ไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด หรือระบบประสาทแล้วผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิตได้สูง หรือทำให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้อย่างฉับไวซึ่งไม่รวมผู้ป่วยส่งต่อ (Refer)

ชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน หมายถึง ชุดปฏิบัติการที่ออกปฏิบัติการฉุกเฉิน ที่ได้ขึ้นทะเบียนในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ตามที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกำหนด

 
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aครั้ง
นิยามของค่า Aจำนวนครั้งของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่มาโดยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS)
หน่วยของค่า Bครั้ง
นิยามของค่า B จำนวนครั้งของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตทั้งหมดที่มารับบริการที่ห้องฉุกเฉิน (ER Visit)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 22
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชาชนทุกคนในประเทศไทย
ค่าเป้าหมาย22.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. จากการบันทึกข้อมูลผลการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินของแต่ละจังหวัดใน

    โปรแกรมระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS) หรือระบบโปรแกรม PAภาครัฐ

2. จากการบันทึกข้อมูลการคัดแยกผู้ป่วยของ รพ.ระดับA , S และM1สังกัด สธ.ในระบบ 

    รายงาน PAของ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

แหล่งข้อมูล

โปรแกรมระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS)หรือระบบโปรแกรม PAภาครัฐ

รายงานการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน ของ สพฉ.

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline
 

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

63,022

จำนวนครั้ง

ผู้ป่วยสีแดง EMS

80,522

98,732

106,739

476,281

จำนวนครั้ง

ผู้ป่วยสีแดง ER visit

526,961

521,422

384,173

13.23

ร้อยละ

15.28

18.94

27.78

 
 
เกณฑ์การประเมินผล

 

ปี 2562 : พิจารณาจากสัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ ห้องฉุกเฉิน เปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตทั้งหมดที่มารับบริการที่ห้องฉุกเฉินทั้งหมด

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 24

ร้อยละ 24

ร้อยละ 24

ร้อยละ 24

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 24

ร้อยละ 24

ร้อยละ 24

ร้อยละ 24

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 24

ร้อยละ 24

ร้อยละ 24

ร้อยละ 24

 
วิธีการประเมินผล

การเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับค่าเป้าหมายที่กำหนด ทุกไตรมาส

เอกสารสนับสนุน

1. รายงานข้อมูลการให้บริการในระบบ ITEMS หรือ ระบบ PA ภาครัฐ

2. รายงานการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินจาก รพ.ระดับ A , S และ M1 ภาครัฐ ทุกแห่ง

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสาวกมลทิพย์  แซ่เล้า                 ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-8721600       โทรศัพท์มือถือ : 089 0361669

    โทรสาร : 02-8721603                  E-mail : kamolthip.s@niems.go.th

2. นายสุวภัทร อภิญญานนท์                 พนักงานปฏิบัติการ (หัวหน้างาน)

                                                งานติดตามประเมินผล

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-8721600       โทรศัพท์มือถือ : 081-8321669                                                                  

     โทรสาร : 02-8721603                 E-mail : Suwapat.a@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวกมลทิพย์  แซ่เล้า                 ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-8721600       โทรศัพท์มือถือ : 089 0361669

    โทรสาร : 02-8721603                  E-mail : kamolthip.s@niems.go.th

2. นายสุวภัทร อภิญญานนท์                 พนักงานปฏิบัติการ (หัวหน้างาน) งานติดตามประเมินผล

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-8721600       โทรศัพท์มือถือ : 081-8321669                                                                  

     โทรสาร : 02-8721603                 E-mail : Suwapat.a@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>