ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่007
Sort Order0
คำนิยาม

มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ หมายถึง มีการดำเนินงานครบองค์ประกอบ 7 ข้อ ดังนี้
       1. มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพ และมีข้อมูลผู้สูงอายุ ที่จำเป็นต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลช่วยเหลือระยะยาว
       2. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
       3. มีผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care  Manager) ผู้ดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุ (Caregiver) หรือ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ
       4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) จากสถานบริการสู่ชุมชนโดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหสาขาวิชาชีพ/ ทีมหมอครอบครัว
       5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล
       6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง โดยท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วมและมีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care Plan)
       7. มีคณะกรรมการ (ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ) บริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนหรือ คณะกรรมการกองทุนตำบล

หมายเหตุ : ผ่านเกณฑ์ หมายถึง  ผ่านองค์ประกอบทุกข้อ

       - ชมรมผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ หมายถึง ชมรมผู้สูงอายุที่อยู่ในพื้นที่ตำบล Long Term Care และผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
       - มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล หมายถึง มีการจัดบริการ
ป้องกันโรคในช่องปากตามชุดสิทธิประโยชน์ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aตำบล
นิยามของค่า Aจำนวนตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์
หน่วยของค่า Bตำบล
นิยามของค่า Bจำนวนตำบลทั้งหมดในประเทศไทย
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 60
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุทุกคนทั่วประเทศ ดำเนินการทุกจังหวัด ทุกอำเภอทั่วประเทศ
ค่าเป้าหมาย70.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

จังหวัดรายงานทาง E-mail หรือ ส่งข้อมูลผ่านศูนย์อนามัยเขต

ศูนย์อนามัยที่ 1-12 และสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง รายงานตามระบบเข้าส่วนกลาง ตามรอบการรายงาน 3, 6, 9, 12 เดือน 

แหล่งข้อมูล

- สำนักอนามัยผู้สูงอายุ และ Cluster กลุ่มวัยผู้สูงอายุ

   - ศูนย์อนามัยที่ 1-12/ สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง/ ศูนย์อนามัยกลุ่มชาติพันธุ์ ชายขอบและแรงงานข้ามชาติ

       - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

2561

ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน  ผ่านเกณฑ์

ร้อยละ

27
ทุกตำบลทั่ว
ประเทศ

1,958 ตำบล

(จาก 7,255 ตำบล

ทั่วประเทศ)

ประเมิน

6 องค์ประกอบ

(องค์ประกอบ ข้อที่ 1-6)

74.5
(หมายเหตุ:
เฉพาะตำบล

นำร่องโครงการ LTC 1,067 ตำบล)

794 ตำบล

(จาก 7,255 ตำบล

ทั่วประเทศ) ประเมิน

7 องค์ประกอบ

81.2

(หมายเหตุ:
เฉพาะตำบลที่เข้าร่วมโครงการ LTC 4,469 ตำบล)

3,628 ตำบล

(จาก 7,255 ตำบล

ทั่วประเทศ)ประเมิน

7 องค์ประกอบ

71.7

ทุกตำบลทั่ว
ประเทศ

(จาก 7,255 ตำบล

ทั่วประเทศ)ประเมิน

7

องค์ประกอบ

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1) มีผลการประเมินทบทวนสถานการณ์การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรการและกฎหมาย ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว และชี้แจงประสานหน่วยงานภาคีเครือข่าย เพื่อวางแผนการดำเนินงาน

2) พัฒนาศักยภาพบุคลากร/ภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ทุกระดับ ทั้งส่วนกลาง/เขตสุขภาพ/จังหวัด

3) มีการพัฒนาระบบการจัดทำรายงานข้อมูลส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว  (Long Term Care)

1) พัฒนาคู่มือ/แนวทาง การอบรมเพิ่มพูนทักษะการปฏิบัติงานของ Care Manager/ Caregiver

2) พัฒนาแนวทางการประเมินคัดกรองดูแลผู้สูงอายุ

3) มีช่องทางการสื่อสารระบบข้อมูล  Long Term Care ผ่านระบบ Digital On line

4) มีการพัฒนาระบบโปรแกรมแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคลผ่านระบบ Care Plan ออนไลน์

5.มีระบบโปรแกรมการ ขึ้นทะเบียน ของ Care  Manager/ Caregiver ออนไลน์

1) มีแนวทางขับเคลื่อนการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบ   องค์รวม เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสังคมผู้สูงอายุ

2) มีแนวทางการดูแลผู้สูงอายุในเขตเมือง ด้วยนวัตกรรม Application และ Digital

 

1) มีนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว อย่างน้อย 13 เรื่อง

2) มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเผยแพร่นวัตกรรมและขยายผลการดำเนินงาน

3) มีบัญชี/ทะเบียนนวัตกรรม

4)  มีรายงานผลการดำเนินงาน Long Term Care ประจำเดือน/ราย  ไตรมาสและรายปี ตามระบบโปรแกรมการรายงานผลการดำเนินงานในระดับสสจ./ศูนย์อนามัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1) มีผลการประเมินทบทวนสถานการณ์การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบองค์รวมและชี้แจงประสานหน่วยงานภาคีเครือข่าย เพื่อวางแผนการดำเนินงาน

2) พัฒนาศักยภาพบุคลากร/ภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม ทุกระดับ ทั้งส่วนกลาง/เขตสุขภาพ/จังหวัด

3) มีการพัฒนาระบบโปรแกรมการรายงานข้อมูลส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว  (Long Term Care)  แบบบูรณาการ

1) พัฒนาคู่มือแนวทางการให้บริการ/มาตรฐานผู้ดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน

2) พัฒนาคู่มือ/แนวทาง การการอบรมเพิ่มพูนทักษะCare Manager/ Caregiver

3) พัฒนาคู่มือ/แนวทางการดำเนินงาน Intermediate Care in Community

1) มีแนวทางการดำเนินงาน”ศูนย์กตัญญูดูแลพ่อแม่ : Day Care”

2) มีคู่มือ /แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประเมินมาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐานผู้ปฏิบัติงานการดูแลผู้สูงอายุหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ 70 ชม.และ     420 ชม.

3) มีระบบแสดงผลผู้   ผ่านการอบรมหลักสูตร Care Manager/ Caregiver ผ่านระบบ   GIS Map

1) มีนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว อย่างน้อย 26 เรื่อง

2) มีบัญชี/ทะเบียนนวัตกรรม ที่เป็นปัจจุบัน

3)มีคู่มือ /แนวทางการติดตาม ควบคุม กำกับคุณภาพหลักสูตรและ     ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ 70 ชม.และ 420 ชม.

4) มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน เผยแพร่นวัตกรรมและขยายผลการดำเนินงานในระดับนานาชาติ

5)  มีระบบรายงาน/วิเคราะห์ประมวลผลการดำเนินงาน Long Term Care ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อผู้บริหาร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1) มีผลการประเมินทบทวนสถานการณ์การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม  ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบองค์รวมและชี้แจงประสานหน่วยงานภาคีเครือข่าย เพื่อวางแผนการดำเนินงาน

2) พัฒนาศักยภาพบุคลากร/ภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม   ทุกระดับ ทั้งส่วนกลาง/เขตสุขภาพ/จังหวัด

3) มีการพัฒนาระบบโปรแกรมการรายงานข้อมูลส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว  (Long Term Care)  แบบบูรณาการ

 

1) มีการพัฒนาคู่มือแนวทางการให้บริการ/มาตรฐานผู้ดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ในรูปแบบออนไลน์

2) มีการพัฒนาคู่มือ/แนวทาง การอบรมเพิ่มพูนทักษะ Care Manager/ Caregiver ผ่านระบบออนไลน์

3) มีการพัฒนาคู่มือ / แนวทางการดำเนินงาน Intermediate Care in Community และการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์

1) มีพื้นที่/แหล่งเรียนรู้ดำเนินงาน”ศูนย์กตัญญูดูแลพ่อแม่ : Day Care” อย่างน้อยเขตสุขภาพละ  1 แห่ง (13 แห่ง )

2) มีคู่มือ /แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประเมินมาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐานผู้ปฏิบัติงานการดูแลผู้สูงอายุหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ 70 ชม.และ     420 ชม.

3) มีระบบแสดงผลผู้   ผ่านการอบรมหลักสูตร Care Manager/ Caregiver ผ่านระบบ   GIS Map

1) มีนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว และการพัฒนาในรูปแบบ Digital/Application อย่างน้อย 1 เรื่อง/เขตสุขภาพ

2) มีการจัดทำระบบรายงานบัญชี/ทะเบียนนวัตกรรม ผ่านระบบออนไลน์

3) มีระบบการติดตาม ควบคุม กำกับคุณภาพหลักสูตร /ผู้ผ่านการอบรมและปฏิบัติงานการดูแลผู้สูงอายุตามหลักสูตร 70 ชม.และ 420 ชม.

4) มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน เผยแพร่นวัตกรรมและขยายผลการดำเนินงานในระดับนานาชาติ

5)  มีระบบรายงาน/วิเคราะห์ประมวลผลการดำเนินงาน Long Term Care ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อผู้บริหาร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1) มีผลการประเมินทบทวนสถานการณ์การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบองค์รวมและชี้แจงประสานหน่วยงานภาคีเครือข่าย เพื่อวางแผนการดำเนินงาน

2) มีคู่มือ /แนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากร/ภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม ทุกระดับ ทั้งส่วนกลาง/เขตสุขภาพ/จังหวัด

3) มีการพัฒนาระบบโปรแกรมการรายงานข้อมูลส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว  (Long Term Care) แบบบูรณาการ

 

1) มีการพัฒนาคู่มือแนวทางการให้บริการ/มาตรฐานผู้ดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ในรูปแบบออนไลน์

2) มีการพัฒนาคู่มือ/แนวทาง การอบรมเพิ่มพูนทักษะ Care manager/ Caregiver ผ่านระบบออนไลน์

3) มีการพัฒนาคู่มือ / แนวทางการดำเนินงาน Intermediate Care in Community และการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์

1) มีพื้นที่/แหล่งเรียนรู้ดำเนินงาน”ศูนย์กตัญญูดูแลพ่อแม่ : Day Care” อย่างน้อยเขตสุขภาพละ 2 แห่ง (26 แห่ง )

2) มีคู่มือ /แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประเมินมาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐานผู้ปฏิบัติงานการดูแลผู้สูงอายุหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ 70 ชม.และ     420 ชม.

3) มีระบบแสดงผล        ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร Care Manager/ Caregiver ผ่านระบบ   GIS Map

1) มีนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว และการพัฒนาในรูปแบบ Digital/Application     อย่างน้อย 2 เรื่อง/           เขตสุขภาพ

2) มีการจัดทำระบบรายงานบัญชี/ทะเบียนนวัตกรรม  ผ่านระบบออนไลน์

3) มีระบบการติดตาม ควบคุม กำกับคุณภาพหลักสูตร /ผู้ผ่านการอบรมและปฏิบัติงานการดูแลผู้สูงอายุตามหลักสูตร 70 ชม.และ 420 ชม.

4) มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน เผยแพร่นวัตกรรมและขยายผลการดำเนินงานในระดับนานาชาติ

5)  มีระบบรายงาน/วิเคราะห์ประมวลผลการดำเนินงาน Long Term Care ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อผู้บริหาร

วิธีการประเมินผล

พื้นที่ประเมินตนเองตามองค์ประกอบ

จังหวัดประเมินพื้นที่ รายงานให้ศูนย์อนามัยเขต รายไตรมาส

ศูนย์อนามัยเขตสุ่มประเมิน และรายงานให้ส่วนกลางรอบ 3, 6 , 9 และ 12 เดือน

เอกสารสนับสนุน

1.คู่มือแนวทางการดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มี    ภาวะพึ่งพิงในชุมชนในพื้นที่ตำบล Long Term Care

2. คู่มือกลยุทธ์การดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวกับตำบลต้นแบบ

3. คู่มือแนวทางการฝึกอบรมหลักสูตร Care Manager

4.คู่มือแนวทางการฝึกอบรมหลักสูตร Caregiver 70 ชม. และ 420 ชม. กระทรวงสาธารณสุข

5. คู่มือและ Application การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันภาวะสมองเสื่อม “สูงวัย สมองดี”

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์กิตติ  ลาภสมบัติศิริ      ผู้อำนวยการสำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย          

    โทรศัพท์ 0 2590 4503             E-mail:  kitti.l@anamai.mail.go.th

2. นางวิมล  บ้านพวน                   รองผู้อำนวยการสำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย                      

    โทรศัพท์ 0 2590 4509             โทรศัพท์มือถือ 09 7241 9729

    E-mail: vimol.b@anamai.mail.go.th

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางรัชนี  บุญเรืองศรี                       นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ   

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4504       โทรศัพท์มือถือ : 09 9616 5396

    โทรสาร : -                                 E-mail: rachanee.b@anamai.mail.go.th

2. นางอรวรรณี  อนันตรสุชาติ               นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4500      โทรศัพท์มือถือ : 08 1454 3563

    โทรสาร : -                                E-mail: orawannee.a@anamai.mail.go.th

    สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>